Diary notes.
No.3
Monday 7 September 2558
The academic learning experience for creative children.
สรุปการเรียนวิชาการจัดประสบการณ์ความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
Knowledge (ความรู้)
การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์เด็กปฐมวัย
"...ความคิดสร้างสรรค์ไม่สามารถบังคับให้เกิดขึ้นได้
แต่สามารถส่งเสริมให้เกิดขึ้นได้..."
แนวคิดทฤษฎีทางความคิดสร้างสรรค์
แนวคิดและทฤษฎีโครงสร้างทางปัญญาของ
Guilford
อธิบายความสามารถของสมองมนุษย์เป็นแบบจำลอง
3 มิติ
มิติที่ 1 : เนื้อหา
(ข้อมูลหรือสิ่งเร้าที่เป็นสื่อในการคิด)
·
ภาพ
(สิ่งที่เห็น)
·
สัญลักษณ์
(สิ่งที่แทนความหมาย)
·
ภาษา
(การสื่อสาร)
·
พฤติกรรม
(สิ่งที่แสดงออกมา)
มิติที่ 2 : วิธีคิด (กระบวนการทำงานของสมอง)
·
การรู้และเข้าใจ
·
การจำ
·
การคิดแบบอเนกนัย
(คิดคำตอบให้เยอะ ในโจทย์เดียว)
·
การคิดแบบเอนกนัย
(หาคำตอบที่ดีที่สุด)
·
การประเมินค่า
มิติที่ 3 : ผลของการคิด (การตอบสนองต่อข้อมูลหรือสิ่งเร้า)
·
หน่วย
(ของเป็นชิ้นๆ หรือ หน่วยการเรียน เช่น หน่วยสัตว์ หน่วยผลไม้)
·
ระบบ เช่น 1 3 5 7 9 หรือ 2 4 6 8 10
·
จำพวก (สัตว์บก,สัตว์น้ำ)
·
การแปลงรูป เช่น
จากรูปสี่เหลี่ยม สามารถเปลี่ยนไปเป็นรูปไรได้บ้าง
·
ความสัมพันธ์
(สิ่งที่สัมพันธ์กัน)
·
การประยุกต์
(มองสิ่งที่เห็นอยู่ ให้เปลี่ยนใจ)
ทฤษฎี Constructivism
(เรียนรู้ด้วยตนเอง)
·
เด็กเรียนรู้เอง
·
เด็กคิดเอง
·
ครูกับเด็กเรียนรู้ไปด้วยกัน
·
สร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยตนเอง
ทฤษฎีของ Torrance (การแก้ไขปัญหา)
·
ขั้นที่ 1 การพบความจริง
·
ขั้นที่ 2 การค้นพบปัญญา
·
ขั้นที่ 3 การตั้งสมมติฐาน
·
ขั้นที่ 4 การค้นพบคำตอบ
·
ขั้นที่ 5 ยอมรับผล
บรรยาการที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
·
เด็กรู้สึกปลอดภัย
(สบายใจ,อบอุ่น)
·
ให้เด็กได้ลองเล่นคนเดียว
·
ให้ความสนใจเด็ก
·
ได้สำรวจ
ค้นคว้า และสร้างสรรค์ด้วยตนเอง
·
ไม่มีการแข่งขัน
ลักษณะของเด็กที่มีความคิดสร้างสรรค์
·
มีไหวพริบ
·
มีอารมณ์ขัน
·
กล้าแสดงออก ,มั่นใจในตัวเอง
·
มีสมาธิ
·
อยากรู้อยากเห็น
·
ซาบซึ้นงกับสุนทรียภาพ
·
ช่างสังเกต
·
ชอบสร้าางแล้วรื้อ
รื้อแล้วสร้างใหม่
·
มีความวิจิรตพิสดาร
·
ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา
กิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
Torrance ได้กล่าวถึงลักษณะของกิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ไว้
3 ลักษณะ
·
ลักษณะที่ 1 ความไม่สมบูรณ์ การเปิดกว้าง
(Incompleteness,Openness) ไม่ปิด ไม่ตีกรอบ
(Incompleteness,Openness) ไม่ปิด ไม่ตีกรอบ
·
ลักษณะที่ 2 การสร้างบางอย่างขึ้นมา และนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์
(Producing Something and Using it )
(Producing Something and Using it )
·
ลักษณะที่ 3 การใช้คำถามของเด็ก
(Using Pupil Question)
(Using Pupil Question)
คำถามที่ส่งเสริมความคิดคล่องแคล่ว
·
คิดให้ได้มากที่สุด
คำถามที่ส่งเสริมความคิดริเริ่ม
·
คิดหรือทำสิ่งที่ไม่คเยมีใครคิดหรือทำมาก่อน
คำถามที่ส่งเสริมความคิดยืดหยุ่น
·
ได้คำตอบที่หลากหลาย
(คำถามปลายเปิด)
คำถามที่ส่งเสริมความคิดละเอียดลออ
·
คิดให้เห็นรายละเอียดปลีกย่อยต่าง
ๆ
แนวทางการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของ
Torrance
·
ส่งเสริมให้เด็กถาม
·
เอาใจใส่ความคิดของเด็ก
·
ยอมรับคำตอบของเด็ก
·
ชี้แนะให้เด็กกหาคำตอบด้วยตนเอง
·
แสดงให้เด็กเห็นความคิดของเด็กมีคุณค่า
·
เปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรุ้อยู่เสมอ
·
ค่อยเป็นค่อยไป
·
ยกย่องชมเชย
·
ไม่มีการวัดผล
การตั้งคำถาม 5 W 1 H
1.
who ใคร
2.
what อะไร
3.
where ที่ไหน
4.
when เมื่อไหร่
5.
why ทำไม
6.
how อย่างไร
Skill (ทักษะ)
- การมองความคิดของเด็กที่แตกต่างและสร้างสรรค์ไปจากผู้ใหญ่
- การสร้างคำถามกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ภายในตัวเด็ก
Application (การประยุกต์ใช้)
การนำหลักทฤษฏีการคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย มายึดเป็นหลักในการส่งเสริมพัฒนาการคิดการสร้างผลงาน การลงมือปฏิบัติ และการใช้คำถามกระตุ้นการคิดตามหลักวิทยศาสตร์
Technical Education (เทคนิคการสอน)
- การสร้างประเด็นคำถามในการคิดของเด็ก
- การยึดผู้เรียนเป็นหลัก
- การใช้การเสริมแรง
Evaluation (การประเมิน)
Self มาเรียนทันเวลา มีการจดบันทึกการเรียน แต่งกายเรียบร้อย
Friends ตั้งใจเรียน มาเรียนทันเวลา ร่วมทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน
Teacher แต่งกายเรียบร้อย สอนเข้าใจง่าย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น